หิมะ

ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อก ผลงานนักเรียนของ นางสาวพรทิพย์ รณไชยพัฒนา ได้เลยคะ

วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

หน่วยที่ 6 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

                                               รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

            เป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 19 ฉบับ อันแสดงให้เห็นถึงความขาดเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 อ่านเพิ่มเติม


ระบอบการเมืองการปกครอง

ระบอบการเมืองการปกครอง
ลักษณะการเมืองการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย
คือ ระบอบการปกครองตนเองของประชาชน โดยผ่านการเลือกสมาชิกผู้แทนราษฎรไปบริหารและดูแลเรื่องกฎหมาย เพื่อผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่และโดยการตรวจสอบควบคุมดูแลของประชาชนโดยตรงหรือการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน เช่น การยื่นเสนอหรือแก้ไขกฎหมาย การยื่นถอดถอนนักการเมืองที่ประพฤติมิชอบ การแสดงความคิดในการทำประชาพิจารณ์ การออกเสียงในการทำประชามติ อ่านเพิ่มเติม


หน่วยที่ 4 สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน
ความหมายของสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน(Human Rights) หมายถึง สิทธิของความเป็นมนุษย์ ในอดีตยังไม่เป็นที่แพร่หลาย จนภายหลังที่ได้มีการก่อตั้งองค์การสหประชาชาติแล้ว คำว่า สิทธิมนุษยชน จึงได้ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางทั้งในระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ ในกฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวถึงสิทธิมนุษยชนไว้หลายแห่ง เช่นในอารัมภบท ได้กล่าวถึงความมุ่งหมายของสหประชาชาติไว้ว่าเพื่อเป็นการยืนยันและให้การรับรองถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ ในศักดิ์ศรีและคุณค่าของมนุษยชาติ" อ่านเพิ่มเติม



หน่วยที่ 3 พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก

พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
ความหมาย
       พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อ
หน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิ
และเสรีภาพของ บุคคลอื่น อ่านเพิ่มเติม




หน่วยที่ 2 วัฒนธรรมไทย

หน่วยที่ 2 วัฒนธรรมไทย
       วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่มนุษย์สร้างขึ้นในแต่ละสังคม ซึ่งแต่ละสังคมจะต้องมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป
       พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้นิยามความหมายของวัฒนธรรมไว้ 2 นัย ดังนี้
       1.สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่นวัฒนธรรมไทย,วัฒนธรรมในการแต่งกาย เป็นต้น
       2.วิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน,วัฒนธรรมชาวเขา เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม


หน่วยที่ 1 สังคมมนุษย์

สังคมมนุษย์
ความหมายของสังคม
            สังคม  คือ กลุ่มคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป  อาศัยอยู่ร่วมกันในดินแดนแห่งใดแห่งหนึ่ง  เพื่อช่วยเหลือพึ่งพากันและตอบสนองความต้องการพื้นฐานในการดำรงชีวิตซึ่งกันและกัน  กลุ่มคนเหล่านี้มีความสัมพันธ์ต่อกันทั้งโดยตรงและโดยอ้อม อ่านเพิ่มเติม